วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สรุปผลที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์

จากการท่ข้าพเจ้าได้ฝึกประสบการณ์ ณ สำนักงานกรมที่ดินกรุงเทพมหานคร สาขาบางกอกน้อย
ข้าพเจ้าได้ฝึกงานเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับงานโฉนดที่ดิน
ได้เรียนรู้งานหน่วยงานราชการ ซึ่งได้ก่อให้ประโยชน์หลายอย่าง

1 ได้ฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่และความตรงต่อเวลา
- ในการทำงานแต่ละครั้งต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าปฏิบัติงาน เพราะสถานที่ทำงานเป็นหน่วยงานราชการ และในการทำงานจะต้องมีความรับผิดชอบอย่างมากต่อหน้าที่ เพราะในการหาโฉนดที่ดินแต่ละแปลงต้องมีความรับผิดชอบ ถ้าโฉนดหายอาจจะทำให้หน่วยงานเกิดความวุ่นวายได้
2 ได้รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นและหน่วยงาน
-ในการฝึกประสบการณ์ครั้งนี้ ทำให้ได้เรียนรู้อะไรหลายอย่างจากหน่วยงานและผู้ร่วมงาน ว่าควรจะปฏิบัติตัวให้เหมาะสมอย่างไรเพื่อให้เกียรติสถานที่ และการวางตัวทำงานกับผู้อื่น ซึ่งเราต้องรู้จักพูดคุย และสอบถามเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับงานที่ได้รับมอบหมาย
3 ได้ฝึกประสบการณ์จากการฝึกงานในครั้งนี้
- จากการฝึกงานครั้งนี้ ทำให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้งานใหม่ๆและประสบการณ์จากงานที่ไม่เคยปฏิบัติมาก่อน ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าได้รู้จักการใช้ชีวิตนอกเหนือจากในมหาวิทยาลัย

การปฏิบัตงานสัปดาห์ที่ 18

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

วันที่ 28 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 85 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 โฉนดที่ดินหาย
2 เก็บกล่องเอกสารไม่ค่อยถูก

การแก้ไขปัญหา
1 เก็บโฉนดที่ดินตามหมวดหมู่
2 เรียงเลขหมายของกล่องตามเลข

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม
2 ได้เรียนรู้จักความรับผิดชอบงานมากขึ้น

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 17

วันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2554

วันที่ 21 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 39 ชุด
วันที่ 22 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 87 ชุด
วันที่ 23 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 63 ชุด
วันที่ 24 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 83 ชุด
วันที่ 25 ก.พ.54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 149 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 หากล่องเอกสารไม่เจอ
2 งานเยอะจนทำไม่ทันเวลา

การแก้ไขปัญหา
1 สอบถามหัวหน้างาน
2 แบ่งเวลาในการทำงานให้ดีกว่าเดิม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้ระบบงานข้าราชการ
2 ได้เรียนรู้งานจากผู้ที่มีประสบการณ์สูงกว่า

วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 16

วันที่ 14-17 กุมภาพันธ์ 2554

วันที่ 14 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 46 ชุด
วันที่ 15 ก.พ.54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 76 ชุด
วันที่ 16 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 61 ชุด
วันที่ 17 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 51 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 งานเข้ามาเยอะทำไม่ทัน
2 วายเครื่องไม่ทันจำนวนเอกสาร

การแก้ไขปัญหา
1 เรียงงานตามคิวใบงาน
2 พอเรียกบัตรคิวต้องเรียกมาวายเครื่อง

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้มีความรับผิดชอบงานมากขึ้น
2 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 15

วันที่ 7-11 กุมภาพันธ์ 2554

วันที่ 7 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 77 ชุด
- ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 2เครื่อง
วันที่ 8 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 95 ชุด
วันที่ 9 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 71 ชุด
วันที่ 10 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 91 ชุด
วันที่ 11 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 58 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 หาเอกสารไม่ค่อยเจอ
2 โฉนดที่ดินเก็บไม่ค่อยตรงแฟ้ม

การแก้ไขปัญหา
1 สอบถามหัวหน้างาน
2 ก่อนเก็บดูเลขหน้าแฟ้มให้เรียบร้อย

ประโยชน์ทีได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้รู้จักการวางแผนงานมากขึ้น
2 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 14

วันที่ 1-4 กุมภาพันธ์ 2554

วันที่ 1 ก.พ. 54
- ลาป่วย
วันที่ 2 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 59 ชุด
วันที่ 3 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 64 ชุด
วันที่ 4 ก.พ. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 79 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 โฉนดที่ดินหาย
2 เก็บกล่องเอกสารยังไม่ค่อถูก

การแก้ไขปัญหา
1 เก็บโฉนดที่ดินตามหมวดหมู่
2 เรียงเลขหมายของกล่องตามเลข

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้มีความรับผิดชอบมากขึ้น
2 ได้รู้จักการวางแผนงาน

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 14

วันที่ 31 มกราคม 2554



วันที่ 31 ม.ค. 54

- ลาป่วย

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 14

วันที่ 31 มกราคม 2554

วันที่ 31 ม.ค. 54
- ลาป่วย

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 13

วันที่ 24-28 มกราคม 2554

วันที่ 24 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 127 ชุด
วันที่ 25 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 116 ชุด
วันที่ 26 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 151 ชุด
วันที่ 27 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 144 ชุด
วันที่ 28 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 86 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 มีพื้นที่ในการเก็บเอกสารน้อย
2 กล่องเอกสารไม่มีคุณภาพ

การแก้ไขปัญหา
1 ขยายพื้นท่ในการทำงานให้กว้างมากขึ้น
2 หากล่องเอกสารมาใหม่

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม
2 ได้รู้จักการวางแผนงาน

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 12

วันที่ 17-21 มกราคม 2554

วันที่ 17 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 90 ชุด
วันที่ 18 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 99 ชุด
วันที่ 19 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 118 ชุด
วันที่ 20 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 82 ชุด
วันที่ 21 ม.ค. 54
- ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 121 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 ทำงานเสร็จไม่ทันตามเวลา
2 หาเอกสารโฉนดที่ดินไม่เจอ

การแก้ไขปัญหา
1 แบ่งงานให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับ
2 สอบถามหัวหน้างาน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ
2 ได้รู้จักการวางแผนงาน

วันจันทร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2554

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 11

วันที่ 10 - 14 มกราคม 2554

วันที่ 10 ม.ค. 54
-ค้นหาเอากสารสิทธิสารบบบัญชีจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 62 ชุด

วันที่ 11 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 111 ชุด

วันที่ 12 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดท่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 108 ชุด

วันที่ 13 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 136 ชุด

วันที่ 14 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 134 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 หาโฉนดที่ดินไม่ค่อยเจอ
2 เก็บเอกสารโฉนดที่ดินไม่ค่อยตรงแฟ้ม

การแก้ไขปัญหา
1 สอบถามหัวหน้างาน
2 ตรวจดูให้เรียบร้อยก่อนเก็บเข้าแฟ้ม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม
2 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ

วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 10

วันที่ 4 - 7 มกราคม 2554

วันที่ 4 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 68 ชุด

วันที่ 5 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 66 ชุด

วันที่ 6 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเห็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 117 ชุด

วันที่ 7 ม.ค. 54
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 82 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 งานเยอะทำไม่ทัน
2 เก็บแฟ้มเอกสารเข้าผิดตู้โฉนด

การแก้ไขปัญหา
1 แบ่งงานให้ถูกลำดับงาน
2 สอบถามหัวหน้างาน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ
2 ได้มีความรับผิดชอบงานมากขึ้น


การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 9

วันที่ 27 - 30 ธันวาคม 2553

วันที่ 27 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 96 ชุด

วันที่ 28 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 179 ชุด

วันที่ 29 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 150 ชุด

วันที่ 30 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 75 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 เอกสารมาเยอะเก็บไม่ทัน
2 หยิบเอกสารที่อยู่สูงบนตู้โฉนดไม่ถึง

การแก้ไขปัญหา
1 แยกเอกสารที่ต้องเก็บออกมาไว้ก่อน
2 ใช้บรรไดขึ้นไปหยิบเอกสาร

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้การร่วมงานกับผู้อื่น
2 ได้รู้จักการวางแผนงานมากขึ้น


การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 8

วันที่ 20 - 24 ธันวาคม 2553

วันที่ 20 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 81 ชุด

วันที่ 21 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 141 ชุด

วันที่ 22 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 106 ชุด

วันที่ 23 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 117 ชุด

วันที่ 24 ธ.ค 53
-ลากิจ งานกีฬาสีหลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ปัญหาที่ได้พบ
1 หาโฉนดที่ดินไม่ค่อยเจอ
2 เก็บเอกสรโฉนดที่ดินไม่ค่อยตรงแฟ้ม

การแก้ไขปัญหา
1 สอบถามหัวหน้างาน
2 ตรวจดูให้เรียบร้อยก่อนเก็บเข้าแฟ้ม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้ระบบงานข้าราชการ
2 ได้เรียนรู้การทำงานใหม่ ๆ


วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 7

วันที่ 13-17 ธันวาคม 2553

วันที่ 13 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 105 ชุด

วันที่ 14 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 104 ชุด

วันที่ 15 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 97 ชุด

วันที่ 16 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 122 ชุด

วันที่ 17 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 156 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 โปรแกรมงานโฉนดที่ดินชอบมีปัญหา
2 กระดาษชอบติดขัดเครื่องปริ้น

การแก้ไขปัญหา
1 เข้าโปรแกรมใหม่
2 ตรวจสอบเครื่องปริ้นก่อนใส่กระดาษ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้มีความรับผิดชอบงานมากขึ้น
2 ได้รู้จักการวางแผนงาน

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 6

วันที่ 7-9 ธันวาคม 2553

วันที่ 7 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 136 ชุด

วันที่ 8 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 86 ชุด

วันที่ 9 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 117 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ

1 หาแฟ้มเอกสารไม่ค่อยเจอ
2 หยิบโฉนดที่ดินไม่ค่อยถูก

วิธีการแก้ไขปัญหา

1 สอบถามหัวหน้างาน
2 สอบถามหัวหน้างาน


ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม
2 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ

วันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 5

วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2553

วันที่ 29 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 167 ชุด

วันที่ 30 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 105 ชุด

วันที่ 1-3 ธันวาคม 2553

วันที่ 1 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 133 ชุด

วันที่ 2 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชัเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 102 ชุด

วันที่ 3 ธ.ค. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 118 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 งานเข้ามาเยอะทำไม่ทัน
2 วายเครื่องไม่ทันจำนวนเอกสาร

วิธีการแก้ไขปัญหา
1 เรียงงานตามคิวใบงาน
2 พอเรียกบัตรคิวต้องรีบมาวายเครื่อง

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้การร่วมงานกับผู้อื่น
2 ได้มีความตรงต่อเวลา





การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 4

วันที่ 22-26 พฤศจิกายน 2553

วันที่ 22 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 97 ชุด

วันที่ 23 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเิอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 201 ชุด

วันที่ 24 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 114 ชุด

วันที่ 25 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 160 ชุด

วันที่ 26 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 131 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 หาเอกสารไม่ค่อยเจอ
2 โฉนดที่ดินเก็บไม่ค่อยตรงแฟ้ม

วิธีการแก้ไขปัญหา
1 สอบถามพี่ที่ทำงาน
2 ก่อนเก็บดูเลขหน้าแฟ้มให้เรียบร้อย

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ
2 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม


วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 3

วันที่ 15 - 19 พฤศจิกายน 2553

วันที่ 15 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 127 ชุด

วันที่ 16 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 106 ชุด

วันที่ 17 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 130 ชุด

วันที่ 18 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 94 ชุด

วันที่ 19 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่าย
โฉนดที่ดินและเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 110 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 โฉนดที่ดินหาย
2 เก็บกล่องเอกสารยังไม่ค่อยถูก
วิธีการแก้ไขปัญหา
1 เก็บโฉนดที่ดินตามหมวดหมู่
2 เรียงเลขหมายของกล่องตามเลข

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้งานเพิ่มเติม
2 ได้เรียนรู้จักการวางแผนงานมากขึ้น

วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 2

วันที่ 8 - 12 พฤศจิกายน 2553


วันที่ 8 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 118 ชุด

วันที่ 9 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 74 ชุด

วันที่ 10 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 93 ชุด
-ซ่อมคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 เครื่อง

วันที่ 11 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 127 ชุด

วันที่ 12 พ.ย. 53
-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 141 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ
1 มีพื้นที่ในการเก็บเอกสารน้อย
2 กล่องเอกสารไม่มีคุณภาพ

วิธีการแก้ไขปัญหา
1 ขยายพื้นที่ในการทำงานให้กว้างมากขึ้น
2 หากล่องเอกสารมาใหม่

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน
1 ได้เรียนรู้เอกสารโฉนดที่ดิน
2 มีความรับผิดชอบงานมากขึ้น

วันเสาร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การปฏิบัติงานสัปดาห์ที่ 1

วันที่ 1-5 พฤศจิกายน 2553

วันที่ 1 พ.ย.53

-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 122 ชุด

วันที่ 2 พ.ย.53

-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 111ชุด

วันที่ 3 พ.ย.53

-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอาสารเข้าแฟ้ม จำนวน 121 ชุด

วันที่ 4 พ.ย.53

-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิน
และเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม จำนวน 118 ชุด

วันที่ 5 พ.ย.53

-ค้นหาเอกสารสิทธิสารบบบัญชีเบิกจ่ายโฉนดที่ดิิน
และเก็บเอากสารเข้าแฟ้ม จำนวน 120 ชุด

ปัญหาที่ได้พบ

1. หากล่องเอกสารไม่เจอ

2. งานเยอะจนทำไม่ทันเวลา

วิธีการแก้ไขปัญหา

1. สอบถามพี่ที่ทำงานร่วมกัน

2. แบ่งเวลาในการทำงานให้ดีกว่าเดิม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน

1 ได้เรียนรู้งานระบบข้าราชการ

2 ได้เรียนรู้งานจากผู้มีประสบการณ์สูงกว่า

วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

สิ่งที่ได้จากการเรียนวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1 การตรงต่อเวลา
จากที่ข้าพเจ้าได้เรียนวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
นั้นทำให้ข้าพเจ้าได้มีความกระตือรือร้นในการที่จะมาเรียน
ให้ทันเวลาก่อนที่จะเข้าเรียนและในการที่เราจะต้องไปทำงาน
อย่างตรงต่อเวลาจะทำให้เกิดสิ่งที่ดีและสื่อถึงนิสัยของเราเอง
ได้ว่าเราก็เป็นคนที่มีความตรงต่อเวลาและเราก็ไม่ต้องให้ใคร
มารอเราหรือเราก็ไม่ต้องมารอใครเพราะทุกคนนั้นก็ต้องนำสิ่งที่ได้
เรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์และทุกคนก็ต้องมีความตรงต่อเวลาด้วยกันทุกคน

2 เครื่องแบบการแต่งกายที่เรียบร้อย
การแต่งกายให้เรียบร้อยนั้นก็ยังสื่อถึงบุคลิกภาพที่ดี
ทำให้เรามีความมั่นใจในตัวเองและบุคคลรอบข้าง
ก็ยังมองเราดูว่าเป็นคนสะอาดเรียบร้อยดูหน้ารักและยัง
เชิดหน้าชูตาให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตของเรา

3 ความสามัคคีในหมู่คณะ
ในการที่อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ทุกคนทำงานร่วมกัน
เป็นทีมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ฝึกให้เรารู้จักการขยันทำงาน
และเกิดความสามัคคีในหมู่คณะทำให้ทุกคนต้องมีความ
เพิ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

4 การทำงานอย่างเป็นระบบ
การทำงานจากการที่เราได้รับงานชิ้นนั้นมาทำ
เราก็ได้รู้จักแบ่งงานและการติดต่อสื่อสารกันในการทำงาน
เราได้ทำงานกันอย่างเป็นขั้นตอนและระบบยังช่วยให้เรา
เป็นคนทำงานอย่างมีระเบียบรอบครอบแถมยังทำให้งาน
ของเราออกมาได้ดีอีกด้วย

ในการเรียนวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ทำให้ข้าพเจ้าได้ทราบถึงประสบการณ์การทำงาน
และยังได้เรียนรู้ถึงคุณประโยชน์และยังได้มีข้อคิดคติดี ๆ
จากอาจารย์ผู้สอนหรือแม้กระทั่งจากวิทยากรที่ได้เข้ามา
นำความรู้มาสอนและยังทำให้เราได้มีการพัฒนาชีวิตของเรา
ให้ดีขึ้นได้อีกด้วยและสิ่งที่สำคัญที่สุด
ข้าพเจ้าจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาฝึกฝนพัฒนา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันและนำไปประกอบวิชาชีพในอนาคตต่อไป

DTS 12-23-09-2552

สรุป Graph (กราฟ)

เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น
กราฟเป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีการนำไปใช้งาน
ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ค่อนข้างซับซ้อน

กราฟ เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น
ที่ประกอบไปด้วยสิ่งสองสิ่งคือ
1 โหนด (Node) หรือเวอร์เทกซ์
2 เส้นเชื่อมระหว่างโหนด เรียก เอ็จ
กราฟที่มีเอ็จเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนด
ถ้าเอ็จไม่มีลำดับ ความสัมพันธ์จะเรียกกราฟ
นั้นว่ากราฟแบบไม่มีทิศทางและถ้ากราฟนั้นมีเอ็จ
ที่มีลำดับความสัมพันธ์หรือมีทิศทางกำกับด้วย
เรียกกราฟนั้นว่า กราฟแบบมีทิศทาง

การเขียนกราฟแสดงโหนดและเส้นเชื่อม
ความสัมพันธ์ ระหว่างโหนดไม่มีรูปแบบ
ที่ตายตัวการลากเส้นความสัมพันธ์เป็น
สัญลักษณ์ไหนก็ได้ที่สามารถแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างโหนดได้ถูกต้อง
นอกจากนี้เอ็จจากโหนดใด ๆ สามารถ
วนเข้าหาตัวมันเองได้

กราฟที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
อาจจะใช้วิธีแอดจาเซนซีลิสต์
ซึ่งเป็นวิธีที่คล้ายวิธีจัดเก็บกราฟด้วยการ
เก็บโหนดและพอยน์เตอร์ แต่ต่างกันตรงที่
จะใช้ ลิงค์ลิสต์แทนเพื่อความสะดวก
ในการเปลี่ยนแปลงแก้ไข

การท่องไปในกราฟ คือ
กระบวนการเข้าไปเยือนโหนดในกราฟ
โดยมีหลักในการทำงาน คือ แต่ละโหนด
จะถูกเยือนเพียงครั้งเดียว
สำหรับเทคนิคการท่องไปในกราฟ
มี 2 แบบคือ
1 การท่องแบบกว้าง คือ
ทำโดยเลือกโหนดที่เป็นจุดเริ่มต้น
ต่อมาให้เยือนโหนดอื่นที่ใกล้กันกับโหนด
เริ่มต้นทีละระดับจนกระทั่งเยือนหมดทุก
โหนดในกราฟ
2 การท่องแบบลึก คือ
การทำงานคล้ายกับการท่องทีละระดับ
โดยกำหนดเริ่มต้นที่โหนดแรกและเยือน
โหนดถัดไปตามแนววิถีนั้นจนกระทั่งนำไปสู่
ปลายวิถีนั้น จากนั้นย้อนกลับตามแนว
วิถีเดิมนั้น จนกระทั่งสามารถดำเนิน
เข้าสู่แนววิถีอื่น ๆ เพื่อเยือนโหนดอื่น ๆ
ต่อไปจนครบทุกโหนด

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552

DTS 11-16-09-2552

สรุปเรื่อง Searching (การค้นหาข้อมูล)

การค้นหาข้อมูล คือ
การใช้วิธีการค้นหากับโครงสร้างข้อมูล
เพื่อดูว่าข้อมูลตัวที่ต้องการถูกเก็บอยู่
ในโครงสร้างแล้วหรือยัง

การค้นหาข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1 การค้นหาข้อมูลแบบภายใน
2 การค้นหาข้อมูลแบบภายนอก

การค้นหาแบบเชิงเส้นหรือการค้นหาตามลำดับ
เป็นวิธีการใช้กับข้อมูลที่ยังไม่ได้เรียงลำดับ
หลักการคือ ให้นำข้อมูลที่จะหามาเปรียบเทียบ
กับข้อมูลตัวแรกในแถวลำดับ

การค้นหาแบบเซนทินัล
เป็นวิธีการค้นหาแบบเดียวกับวิธีการค้นหาแบบ
เชิงส้นแต่ประสิทธิภาพดีกว่าตรงที่เปรียบเทียบ
น้อยครั้งกว่า พัฒนามาจากอัลกอริทึมแบบเชิงเส้น

การค้นหาแบบไบนารี
การค้นหาแบบไบนารีกับข้อมูลที่ ถูกจัดเรียงแล้วเท่านั้น
ถ้าข้อมูลมีการเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก
เมื่อเปรียบเทียบแล้วคีย์มีค่ามากกว่าค่ากลาง
แสดงว่าต้องการทำการค้นหาข้อมูลในครั้งหลังต่อไป
จากนั้นนำข้อมูลครั้งหลังมาหาค่ากลางต่อ
ทำอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้ข้อมูลที่ต้องการ
เช่นต้องการหาว่า 12 อยู่ในลิสต์
(1 4 6 8 10 12 18 19) หรือไม่

DTS 10-09-09-2552

สรุปเรื่อง Graph (ต่อ) และ Sorting

การท่องไปในกราฟ
อัลกอริทึมแบบลึก มีดังนี้
1 push โหนดเริ่มต้นไปเก็บในสแตก
และปรับ top ให้ชี้ที่ตำแหน่งโหนดเริ่มต้น
2 pop สมาชิกใหม่ออกจากสแตก 1 จำนวน
ปรับค่า pop ใหม่ดังนี้ top=top-1
3 push โหนดประชิดทั้งหมด ของโหนดที่
pop ครั้งสุดท้ายลงสแตกกำหนดโหนดที่จะ
push นั้นต้องไม่เคย push ไปเก็บในสแตกมาก่อน
และปรับค่า top ใหม่ดังนี้
top=top+จำนวนโหนดประชิดที่ push ลงในสแตก
4 ตรวจสอบสแตกถ้ามีข้อมูลให้ไปทำที่ข้อ 2
5 เลิกงาน

การท่องไปในกราฟ
อัลกอริทึมแบบกว้าง มีดังนี้
1 นำโหนดเริ่มต้นไปเก็บในคิว และปรับค่า front
และ rear=1
2 นำสมาชิกออกจากคิว 1 จำนวนและปรับค่า
front ใหม่ดังนี้ front=front+1
3 นำโหนดประชิดทั้งหมด ของโหนดที่ตำแหน่ง
front ไปเก็บในคิว โดยโหนดที่จะเข้าคิวนั้นต้องไม่เคย
ไปเก็บในคิวมาก่อน และปรับค่า rear ใหม่ดังนี้
rear=rear+จำนวนโหนดประชิดที่เก็บในคิว
4 ตรวจสอบคิว ถ้ามีข้อมูล ให้ไปทำข้อ 2
5 เลิกงาน

กราฟมีน้ำหนัก หมายถึง กราฟที่ทุกเอดจ์
มีค่าน้ำหนักกำกับ นิยมนำไปใช้แก้ปัญหา
หลัก ๆ 2 ปัญหา คือ
1 การสร้างต้นไม้ทอดข้ามน้อยที่สุด
2 การหาเส้นทางที่สั้นที่สุด

Sorting การเรียงลำดับ

การเรียงลำดับแบบเร็ว
เป็นวิธีที่ใช้เวลาน้อย เหมาะกับข้อมูลที่มีจำนวนมาก

โดยจะเลือกข้อมูลมาหนึ่งค่ามาเป็นค่าหลัก
ถ้าเป็นการเรียงจากค่าน้อยไปหาค่ามากทำการเปรียบเทียบจาก
ตำแหน่งท้ายไปเรื่อย ๆ จนเจอค่าที่น้อยกว่าค่าหลัก
แล้วทำการสลับตำแหน่งกัน หลังจากสลับตำแหน่งให้นำค่าหลัก
เปรียบเทียบกับข้อมูลตำแหน่งที่ 2,3 จนพบข้อมูลที่มีค่ามากกว่า
ค่าหลักแล้วทำการสลับตำแหน่งกัน

การเรียงลำดับแบบแทรก
เป็นวิธีที่ทำการเพิ่มสมาชิกใหม่เข้าไปในเซต

โดยทำการเปรียบเทียบข้อมูลในเซต กับข้อมูลที่ต้องการแทรก
ถ้าเรียงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก จะต้องให้ข้อมูล
ที่มีค่าน้อยอยู่ก่อนหน้าข้อมูลที่มีค่ามาก

DTS 09-02-09-2552

สรุปเรื่อง ทรี Tree (ต่อ) และเรื่อง กราฟ Graph

การท่องไปในไบนารีทรี
ปฏิบัติการที่สำคัญของในไบนารีทรี คือ
การท่องไปในไบนารีทรีเพื่อเข้าไปเยือนทุก ๆ
โหนดในทรี
ขั้นตอนการเยือนอย่างไรของโหนดที่ถูกเยือน
อาจเป็นโหนดแม่(แทนด้วย N)
ทรีย่อยทางซ้าย(แทนด้วย L)
หรือทรีย่อยทางขวา (แทนด้วย R)

1 การท่องไปแบบพรีออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่าง ๆ
ในทรีด้วยวิธี NLR มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 เยือนโหนดราก
2 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบพรีออร์เดอร์
3 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบพรีออร์เดอร์

2 การท่องไปแบบอินออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่าง ๆ
ในทรีด้วยวิธี LNR มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบอินออร์เดอร์
2 เยือนโหนดราก
3 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบอินออร์เดอร์

3 การท่องไปแบบโพสออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่าง ๆ
ในทรีด้วยวิธี LRN มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบโพสต์ออร์เดอร์
2 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบโพสต์ออร์เดอร์
3 เยือนโหนดราก

เอ็กซ์เพรสชั่นทรี (Expression Tree)
เป็นการนำเอาโครงสร้างทรีไปใช้เก็บนิพจน์
โดยแต่ละโหนดจะเก็บตัวดำเนินการ (Operator)
และตัวถูกดำเนินการ (Operand)
ซึ่งตัวถูกดำเนินการจะเก็บอยู่ที่โหนดใบ
ส่วนตัวดำเนินการจะเก็บอยู่ที่โหนดกิ่ง
แต่ต้องคำนึงถึงความสำคัญของเครื่องหมายตามลำดับด้วย คือ
-ฟังก์ชั่น
-วงเล็บ
-ยกกำลัง
-เครื่องหมายหน้าเลขจำนวน (unary)
-คูณ หรือ หาร
-บวก หรือ ลบ
-ถ้ามีเครื่องหมายที่ระดับเดียวกัน
ให้ทำจากซ้ายไปขวา

ไบนารีเซิร์ซทรี (Binary Search Tree)
เป็นไบนารี่ทรีที่มีคุณสมบัติที่ว่าทุก ๆ โหนด
ในทรี ค่าของโหนดรากมีค่ามากกว่าค่าของ
ทุกโหนดในทรีย่อยทางซ้าย และมีค่าน้อยกว่า
หรือเท่ากับค่าของทุกโหนดในทรีย่อยทางขวา
และในแต่ละทรีย่อยก็มี คุณสมบัติเช่นเดียวกัน

วิธีการดึงโหนดออก แยกได้ 3 วิธี
1 กรณีโหนดที่จะดึงออกเป็นโหนดใบ สามารถดึงได้เลย
เพราะไม่มีผลกระทบต่อโหนดอื่น ๆแล้วเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
2 กรณีโหนดที่ดึงออกมีเฉพาะทรีย่อยด้านซ้ายหรือ
ทรีย่อยด้านขวาเพียงด้านใดด้านหนึ่ง สามารถทำได้เหมือนวิธีแรก
เพียงให้โหนดแม่ของโหนดที่ต้องการดึงออกชี้ไปยังโหนดลูก
ของโหนดนั้นแทน
3 กรณีโหนดที่ต้องการดึงออกมีทั้งทรีย่อยด้านซ้ายและ
ทรีย่อยด้านขวา ต้องทำการเลือกว่าจะนำทรีย่อยด้านใด
มาแทนโหนดที่ถูกดึงออก

Graph (กราฟ)

เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น อีกชนิดหนึ่ง
กราฟเป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีการนำไปใช้ในงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาที่ค่อนข้างซับซ้อน
จะประกอบไปด้วยกลุ่มของสิ่งสองสิ่ง คือ
1 โหนด (Node) หรือ เวอร์เทกซ์
2 เส้นเชื่อมระหว่างโหนด เรียก เอ็จ (Edges)
โดยทั่ว ๆ ไป ในการเขียนกราฟเพื่อแสดง
ให้เห็นความสัมพันธ์ ของสิ่งที่เราสนใจแทนโหนด
ด้วย จุด หรือวงกลม ที่มีชื่อหรือข้อมูลกำกับ
เพื่อบอกความแตกต่างของแต่ละโหนด
ถ้าเป็นกราฟแบบมีทิศทางเส้นหรือเส้นโค้งต้องมี
หัวลูกศรกำกับทิศทางของความสัมพันธ์ด้วย

กราฟมี 2 ทิศทาง คือ
1 กราฟแบบไม่มีทิศทางเป็นเซตแบบจำกัด
ของโหนดและเอ็จ ลำดับของการเชื่อมต่อกัน
ไม่สำคัญ นั่นคือไม่มีโหนดใดเป็นโหนดแรก
หรือไม่ใมโหนดเริ่มต้น และไม่มีโหนดใดเป็นโหนดสิ้นสุด
2 กราฟแบบมีทิศทางเป็นเซตแบบจำกัดและเอ็จ
แต่ละเอ็จจะเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนด
เอ็จมีทิศทางกำกับแสดงลำดับของการเชื่อมต่อกัน
โดยมีโหนดเริ่มต้น และโหนดสิ้นสุด

กราฟที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
อาจจะใช้วิธีแอดจาเซนซีลิสต์
จัดเก็บกราฟด้วยการเก็บโหนดและพอยน์เตอร์
แต่ต่างกันตรงที่จะใช้ลิงค์ลิสต์แทนเพื่อความสะดวก
ในการเปลี่ยนแปลงและแก้ไข

การท่องไปในกราฟ
เป็นการไปเยือนโหนดในกราฟ ซึ่งแต่ละโหนดจะถูกเยือนเพียงครั้งเดียว
แต่กราฟนั้นมาหลายเส้นทางเมื่อเยือนแล้วต้องทำเครื่องหมายว่า
ได้เยือนเรียบร้อย
การท่องไปในกราฟมีด้วยกัน 2 แบบ คือ
1 การท่องแบบกว้าง เป็นการกำหนดโหนดที่จะเยือน
หรือโหนดเริ่มต้นแล้วทำการเยือนไปยังโหนดที่ใกล้เคียง
จนกระทั่งครบทุกโหนด
2 การท่องแบบลึก โดยกำหนดเริ่มต้นที่โหนดแรกแล้ว
เยือนโหนดถัดไปตามแนววิถีจนถึงปลายวิถี
แล้วย้อนกลับมาเพื่อเยือนโหนดอื่น ๆ ต่อไปจนครบทุกโหนด

วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552

DTS 08-26-08-2552

สรุปเรื่อง Tree

ทรี หรือจะเรียกกันอีกอย่างว่าโครงสร้างต้นไม้
เป็นอีกโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์กัน
จะประกอบไปด้วยโหนด (Node)
แต่ละโหนดจะมีความสัมพันธ์กัน
และยังสามารถแตกโหนดออกมาเป็นโหนดย่อยๆ
ได้อีกหลายโหนดด้วยกันเรียกว่าโหนดลูก
เมื่อเรามีโหนดลูกแล้วก้อยังสามารถ
แตกโหนดออกไปเป็นโหนดพ่อโหนดแม่ได้อีก

ชนิดของทรี จะแบ่งออกได้2ชนิดคือ
1 ทรีทั่วไป
2 ไบนารี่ทรี

ในแต่ละโหนดที่มีโหนดแม่เป็นโหนดเดียวกันนั้น
เรียกว่า โหนดพี่น้อง (Siblings)
โหนดที่ไม่มีโหนดลูก เรียกว่า โหนดใบ
และเส้นที่แสดงความสัมพันธ์กันระหว่างโหนดสองโหนด
เรียกว่า กิ่ง

ระดับของโหนดคือ

ระยะทางในแนวดิ่งของโหนดนั้นๆ
ที่อยู่ห่างจากโหนดราก เมื่อกำหนดให้
โหนดรากของทรีนั้นอยู่ในระดับ1และกิ่ง
แต่ละกิ่งที่มีความยาวเท่ากันหมด คือ
ยาวเท่ากับ1หน่วย ซึ่งระดับของโหนด
จะเท่ากับจำนวนกิ่ที่น้อยที่สุดจากโหนดราก
ไปยังโหนดใดๆ บวกด้วย1
และจำนวนเส้นทางตามแนวดิ่งของโหนดใดๆ
ซึ่งห่างจากโหนดราก เรียกว่า ความสูง
หรือความลึก

ไบนารี่ทรีทุกๆโหนดมีทรีย่อยทั้งทางซ้ายและทางขวา
ยกเว้นโหนดใบ และโหนดใบทุกโหนดจะต้องอยู่ในระดับ
เดียวกัน เรียกว่า ไบนารี่ทรีแบบสมบูรณ์

การแปลงทรีในทั่วไปให้เป็นไบนารี่ทรี
มีด้วยกันอยู่3ขั้นตอนคือ

1 ให้โหนดแม่ชี้ไปยังโหนดลูกคนโต
แล้วลบความสัมพันธ์ ระหว่างโหนดแม่
และโหนดลูกอื่นๆ
2 ให้มีความเชื่อมความสัมพันธ์กันระหว่างโหนดพี่น้อง
3 จับให้ทรีย่อยทางขวาเอียงลงมา 45องศา

การท่องไปในไบนารี่ทรีมีด้วยกัน3แบบคือ

1 การท่องไปแบบพรีออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนในโหนดต่างๆ
ในทรีด้วยวิธี NLR มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 เยือนโหนดราก
2 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบพรีออร์เดอร์
3 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบพรีออร์เดอร์

2 การท่องไปแบบอินออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่างๆ
ในทรีด้วยวิธี LNR
มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบอินออร์เดอร์
2 เยือนโหนดราก
3 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบอืนออร์เดรอ์

3 การท่องไปแบบโพสต์ออร์เดอร์
เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่างๆ
ในทรีด้วยวิธี LRN
มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
1 ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบโพสต์ออร์เดอร์
2 ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบโพสต์ออร์เดอร์
3 เยือนโหนดราก

*********





วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2552

DTS 07-05-08-2552

สรุป เรื่อง Queue

โครงสร้างข้อมูลของ Queue

เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้นหรือลิเนียร์ลิสต์
ซึ่งการเพิ่มข้อมูลจะทำการที่ปลายข้างหนึ่ง
เรียกว่าส่วนท้าย (rear) และการนำข้อมูลออก
จะกระทำที่ปลายอีกข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่า ส่วนหน้า
หรือ (front)
ลักษณะการทำงานของคิวเป็นลักษณะของการเข้าก่อน
ออกก่อนหรือที่เรียกว่า FIFO (First In First Out)

--การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้นของคิวมาแสดง
เรียกว่า Queue Front แต่จะไม่ทำการเอาข้อมูลออกจากคิว

--การนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้ายของคิวมาแสดง
จะเรียกว่า Queue Rear แต่ไม่ทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว

การแทนที่ข้อมูลของ Queue
สามารถทำได้มี 2 วิธี คือ
1. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบลิงค์ลิสต์
2. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบอะเรย์

การดำเนินการเกี่ยวกับคิว ได้แก่

1. Create Queue -- การจัดสรรหน่วยความจำให้แก่ Head Node
และค่า Pointer -- ทั้งสองตัวมีค่าเป็น null และค่าสมาชิกเป็น 0
2. Enqueue -- การเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว
3. Dequeue -- การนำข้อมูลออกจากคิว
4. Queue Front -- การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้นของคิวมาแสดง
5. Queue Rear -- การนำข้อมูลที่อยู่ส่วนท้ายของคิวมาแสดง
6. Empty -- การตรวจสอบว่าคิวว่างหรือไม่
7. Full Queue -- การตรวจสอบว่าคิวเต็มหรือไม่
8. Queue Count -- การนับจำนวนสมาชิกที่อยู่ในคิว
9. Destroy Queue -- การลบข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในคิว

--การนำข้อมูลเข้าสู่คิว จะไม่นำเข้าในขณะที่คิวเต็มหรือไม่มีที่ว่าง
ถ้าพยายามนำข้อมูลเข้าจะเกิดการผิดพลาดที่เรียกว่า overflow


--การนำข้อมูลออกจากคิว จะไม่สามารถนำอะไรออกจากคิวที่ว่างได้
ถ้าพยายามจะเอาออกจะเกิดการผิดพลาดที่เรียกว่า underflow


--จุดเด่นของคิว

คิวสามารถจัดการการเข้า-ออกของข้อมูล

ใช้เก็บข้อมูลที่ต้องการจัดเรียงเป็นระบบ
โดยพิจารณาข้อมูลตามลำดับ
ในทำนอง ใครถึงก่อนมีสิทธิ์ได้ใช้ก่อน
จึงใช้ในการเรียงลำดับในการแบ่งปันทรัพยากร
ที่มีอยู่อย่างจำกัดในการทำงาน เช่น
การรอคิวการทำงานของเครื่องพิมพ์ในสำนักงาน เป็นต้น



วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552

DTS 06-29-07-2552

สรุป stack (ต่อ)

การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบอะเรย์

คือการนำเอาอาร์เรย์เข้ามาใช้งานในการกำหนดโครงสร้าง
ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของอาร์เรย์เป็นโครงสร้างที่สามารถกำหนด
จองพื้นที่บนหน่วยความจำได้แน่นอนและสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกัน
ซึ่งจะเอาคุณสมบัตินี้มาใช้ในการกำหนดโครงสร้างและจัดเก็บข้อมูลในลักษณะ
สแตก
--โครงสร้างอาร์เรย์นั้นจะมีการจองพื้นที่ที่แน่นอน (stack) จึงจำเป็นต้องมีการ
กำหนดขนาดพื้นที่จัดเก็บข้อมูลสูงสุดให้เหมาะสมเมื่อมีการนำ้เอาข้อมูลเข้ามา


หลักการดำเนินการสำหรับแปลง infix เป็น postfix

1.พิจารณานิพจน์ infix หากเป็น operand ให้นำออกไปที่ผลลัพธ์
2.พิจารณานิพจน์ infix หากเป็น operator ให้นำมาเปรียบเทียบ
ความสำคัญ หากสแตกว่างไม่มีตัวดำเนินการใ้ห้ push ลงสแตก
ถ้ามีตัวดำเนินการอยู่ให้เปรียบเที่ยบความสำคัญ ถ้าตัวดำเนินการ
ที่เข้าไปใหม่มีความสำคัญน้อยกว่าให้ pop ตัวดำเนินการก่อนหน้า
ไปไว้ในผลลัพธ์แต่ถ้ามีความสำคัญมากกว่าก็ให้วางต่อไว้ในสแตก


สำหรับเครื่องหมาย +-*/ เรียกว่า operator
สำหรับตัวอักษร ABCD เรียกว่า operand

วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS 05-22-07-2552

สรุป Linked List และ Stack

pop คือ การนำข้อมูลออกจากส่วนบนสุดของสแตก
เช่น ต้องการนำข้อมูลออกจากสแตก sไปไว้ที่ตัวแปร i
จะได้ i = pop (s)
การนำข้อมูลออกจากสแตก ถ้าสแตกมีสมาชิกเพียง 1
ตัว แล้วนำสมาชิกออกจากสแตก จะเกิดสภาวะสแตก
ว่าง (Stack Empty) คือ ไม่มีสมาชิกอยู่ในสแตกเลย

แต่ถ้าไม่มีสมาชิกในสแตก แล้วทำการ pop สแตก
จะทำให้ เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า Stack Underflow
เพราะฉะนั้นก่อนนำข้อมูลออกจาก

สแตกจะต้องตรวจสอบ ก่อนว่าสแตกว่าง
หรือเปล่า จึงจะนำข้อมูลออกจากสแตกได้

และปรับตัวชี้ตำแหน่งให้ไปชี้ตำแหน่งของ
ข้อมูลที่ต่อจากข้อมูลที่ถูกนำ ออกไป


การลบโหนด
กำหนดค่า plist คือพอยน์เตอร์เริ่มต้น
ppre คือ พอยน์เตอร์โหนด
ploc คือ โหนดพอยน์เตอร์
dataout คือ ข้อมูลที่จัดเก็บในโหนด

การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบลิงค์ลิสต์
จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
1. Head Node จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ

top pointer และจำนวนสมาชิกในสแตก
2. Data Node จะประกอบไปด้วย
ข้อมูล (Data) และพอยเตอร์ ที่ชี้ไปยังข้อมูล


Stack (Cont.)
การทำงานของโปรแกรมหลักที่เรียกใช้โปรแกรมย่อย
และในแต่ละโปรแกรมย่อยก็มีการเรียกใช้โปรแกรมย่อย
ต่อไปอีก สแตกจะสามารถเข้ามาช่วยในการทำงาน

คือ แต่ละจุดของโปรแกรมที่เรียกใช้โปรแกรมย่อยจะเก็บ
เลขที่ของคำสั่งถัดไปที่เครื่องต้องกลับมาทำงานไว้ในสแตก

หลังจากเสร็จสิ้นการทำงานในโปรแกรมย่อยแล้ว
จะทำการ pop ค่าเลขที่คำสั่งออกมาจากสแตก

เพื่อกลับไปทำงานที่คำสั่งต่อจากคำสั่งที่เรียกใช้โปรแกรมย่อย

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS 04-15-07-2552

Stack

เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแบบลิเนียรลิสต์
ลักษณะสำคัญของสแตก คือ ข้อมูลที่ใส่หลังสุดจะถูกนำออกมา
จากสแตกเป็นลำดับแรกสุด
ในการเพิ่มข้อมูลลงในสแตก จะต้องทำการตรวจสอบว่า
สแตกเต็มหรือไม่ ถ้าไม่เต็มก็สามารถเพิ่มข้อมูลลง
ไปในสแตกได้
แต่ถ้าไม่มีสมาชิกในสแตก แล้วทำการ pop สแตก
จะทำให้เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า Stack Underflow

การแทนที่ข้อมูลของสแตก มีอยู่ 2 วิธี
1 การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบลิงค์ลิสต์
2 การแทนที่ข้อมูลของสแตกแบบอะเรย์

Stack Top
เป็นการคักลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก
โดยไม่มีการลบข้อมูลออกจากสแตก

Empty Stack
เป็นการตรวจสอบการว่างของสแตก
เพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดในการนำข้อมูล
ออกจากสแตกที่เรียกว่า Stack Underflow

Full Stack
เป็นการตรวจสอบว่าสแตกเต็มหรือไม่
เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการนำข้อมูล
สแตกที่เรียกว่า Stack Overflow

การประยุกต์ใช้สแตก
การประยุกต์ใช้สแตกจะใช้ในงานด้านปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่ขั้นตอนการทำงานต้องการเก็บข่าวสารอันดับแรกสุดไว้ใช้หลังสุด

การทำงานของโปรแกรมที่มีโปรแกรมย่อย
การทำงานของโปรแกรมหลักที่เรียกใช้โปรแกรมย่อยและใน
แต่ละโปรแกรมย่อยก็มีการเรียกใช้โปรแกรมย่อยต่อไป
อีกสแตกจะสามารถเข้ามาช่วยในการทำงาน

วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS 03-01-07-2552

สรุปเนื้อหาบทเรียน
เรื่อง Pointer,Set and String

Pointer เป็นตัวแปรชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บตำแหน่งที่อยู่(Address)
ของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำ

การประกาศตัวแปร Pointer
type variable-name;
type คือชนิดของตัวแปรที่จะประกาศเช่น int,float,char
* คือเครื่องหมายที่แสดงให้รู้ว่าตัวแปรหลังดอกจันคือตัวแปร Pointervariable-name
คือชื่อตัวแปรที่จะสร้างขึ้น ทั้งนี้จะต้องไม่เป็นคำสงวนของภาษาซี

ตัวอย่าง
int *y,x=10;
y=&;
หมายความว่า ตัวแปร y ซึ่งประกาศเป็นตัวแปรพอยน์เตอร์
จะเก็บค่า 1000 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่อยู่

โครงสร้างข้อมูลแบบ Set
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กันในภาษาซี
จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล
แต่สามารถใช้หลักของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้

โครงสร้างข้อมูล String
string หมายถึงอักขระที่มีความยาวมากกว่า 1 ตัวต่อกันเป็นข้อความ
โดยข้อมูลชนิดข้อความต้องเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย " " (Double quote)
และเป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลขหรือเครื่องหมายต่างๆที่เขียนติดต่อกัน


วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วีดีโอ คลิป

การบ้าน Structure

struct restaurant;{
char name_restaurant[20];
char menu[20];
char type[20];
float price;
int num_table;
struct date date1;
}restaurant 1;

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02-24-06-2552

ARRAY
เป็นโครงสร้างข้อมูล การกำหนดขอบเขตของอะเรย์มีได้มากกว่า1จำนวนและ
จะเรียกว่าอะเรย์หลายมิติ
ข้อกำหนดต่ำสุดและสูงสุดของsubscript 1ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2ค่าต่ำสุดเรียกว่าขอบเขตล่าง 3ค่าสูงสุดเรียกว่าขอบเขตบน อะเรย์1มิติก็จะมี date-type,arry-name
และexpression

STRUCTURE
คือโครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันเราสามารถประกาศstructure
หนึ่งเป็นสมาชิกstructureหนึ่งได้โดยจะต้องประกาศstructureที่จะนำไปว่างหน้าstructureตัวนอก
รูปแบบของstructureก็จะมี struct-arry-name และsubscript.member-name

วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว



นางสาว จิตรภา วัฒนะสิน (เอม)

ที่อยู่ปัจจุบัน 479/480 หมู่ 2 ต. ท่าม่วง อ. ท่าม่วง
จ. กาญจนบุรี 71110

เกิดวันที่ 2 ธันวาคม 2531

ความสามารถพิเศษ เล่นกีฬา(ฟุตซอล) เล่นดนตรี(กีตาร์)


คติประจำใจ ขยันเรียน ตั้งใจทำงาน อนาคตจะสดใส






การศึกษาปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต


ระดับปริญญาตรี คณะวิทยการจัดการ หลักสูตร บริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)